The Last Resort

(
2020
)
<
1
/
2
3
>
Artwork Details
Performance for the 22nd Biennale of Sydney. Cockatoo Island. Commissioned by the Biennale of Sydney with generous assistance from the Oranges & Sardines Foundation.
Displayed at
Bangkok Art and Culture Centre

Latai Taumoepeau makes live-art-work. Her faiva (body-centred practice) is from her homelands, the Island Kingdom of Tonga and her birthplace Sydney, land of the Gadigal people. Taumoepeau centers Tongan philosophies of relational vā (space-time); cross-pollinating ancient and everyday temporal practice to make visible the impact of climate crisis in the Pacific.

In the dystopian performance The Last Resort, Taumoepeau and fellow artists don brick sandals and wield 'ike (traditional Tongan mallets) typically used to beat mulberry bark for tapa cloth. Here, they shatter glass bottles, a stark metaphor for the fragility of saltwater ecosystems and Pacific Island communities. Their actions underscore the emotional and geopolitical toll faced by Pacific peoples as rising sea levels, driven by melting glaciers, threaten their homes, and force the prospect of displacement.

Ocean Island Mine sees the artist shoveling a thousand kilograms of melting ice from one pile to another. The work references the colonial phosphate extraction from Ocean Island, Christmas Island, and Nauru. The extraction, intended for making fertilizers for farming, has gone so far as to make the islands nearly uninhabitable, while also contaminating the water, leading to the migration of Pacific Islanders.

Taumoepeau has presented and exhibited across borders, countries, and coastlines, including at Oceanspace, Venice Biennale satellite (2024); Sydney Biennale (2020); Sydney Opera House (2023); Serpentine Galleries, London (2020); among others.

ลาทาย เตาโมเปเอาสร้างงานศิลปะแสดงสด ไฟว่า (การทำงานที่ใช้ร่างกายเป็นหลัก) ของเธอมีที่มาจากมาตุภูมิทั้งสอง ราชอาณาจักรเกาะตองงาและบ้านเกิดของเธอนครซิดนีย์ในดินแดนของชาวกาดิกัล เตาโมเปเอาเน้นการใช้ปรัชญาตองงาเรื่อง วา (พื้นที่/เวลา) เชิงสัมพันธ์ ถ่ายเกสรข้ามไปมาระหว่างการทำงานกับเวลาแบบโบราณกับปัจจุบันเพื่อให้ผู้ชมมองเห็นผลกระทบของวิกฤติทางภูมิอากาศในมหาสมุทรแปซิฟิก

ในการแสดงแนวโลกที่ไม่พึงประสงค์ The Last Resort เตาโมเปเอาและเพื่อนศิลปินใส่รองเท้าแตะ กวัดแกว่ง
'อิเขะ (ค้อนแบบดั้งเดิมของตองงา) ที่ปกติใช้ทุบเปลือกต้นหม่อนทำเป็นผ้า ทาพา ในการแสดงนี้พวกเขาทุบขวดแก้วอุปลักษณ์แทนความเปราะบางของระบบนิเวศน้ำเค็มและชุมชนหมู่เกาะแปซิฟิก การกระทำของศิลปินเน้นย้ำผลกระทบทางอารมณ์และภูมิรัฐศาสตร์ที่มีต่อชาวแปซิฟิก ธารน้ำแข็งละลายได้ทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นเป็นภัยคุกคามต่อบ้านของพวกเขาซึ่งมีโอกาสจะต้องย้ายออกไป  

ในงาน Ocean Island Mine ศิลปินใช้พลั่วตักน้ำแข็งหนึ่งตันที่กำลังละลายจากกองหนึ่งไปอีกกองหนึ่ง งานชิ้นนี้อ้างอิงการสกัดแร่ฟอสเฟตที่ทำกันตั้งแต่สมัยอาณานิคมที่เกาะโอเชียน เกาะคริสตมาสและประเทศนาอูรู เดิมทีใช้ทำปุ๋ยเพื่องานกสิกรรมแต่การสกัดมากเกินไปทำให้เกาะเหล่านี้มีสภาพที่เกือบจะอยู่อาศัยไม่ได้จนชาวหมู่เกาะแปซิฟิกต้องย้ายถิ่นฐาน

เตาโมเปเอาจัดแสดงผลงานข้ามพรมแดน ประเทศและชายฝั่ง อาทิ โอเชียนสเปซ, เวนิสเบียนนาเล่แซเทิลไลท์ (พ.ศ. 2567) ซิดนีย์เบียนนาเล่ (พ.ศ. 2563) ซิดนีย์โอเปราเฮาส์ (พ.ศ. 2566) เซอร์เพ็นไทน์แกลเลอรีส์ กรุงลอนดอน (พ.ศ. 2563) และอื่น ๆ